เทคนิคการออกแบบ
| |||||||||||||||||||||||
สีแต่ละสีจะมีความหมายเป็นลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งจะให้ความรู้สึกทั้งในด้านที่ดี หรือ ไม่ดีไปตามลักษณะของแต่ละสี ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงไปตามวัฒนธรรมของแต่ละแห่ง | |||||||||||||||||||||||
จุดสำคัญของทฤษฎีสีคือ สีเป็นคุณสมบัติของแสง ไม่ใช่ตัวของมันเอง คุณสมบัติของแสงนี้ เซอร์ ไอแซค นิวตัน เป็นผู้ค้นพบในศตวรรษที่ 17 เมื่อเขาให้แสงสีขาวส่องผ่านแท่งแก้วปริซึม แยกแสงสีขาว ออกเป็นสีรุ้ง 7 สีและได้แตกตัวออกเป็นสีในวงจรสี (Color Wheel) มีอยู่ 12 สี วัตถุไม่มี สีแท้ในตัวมันเอง แต่มีความสามารถจะสะท้อนแสงซึ่งมีสีอยู่ในนั้น วัตถุสีน้ำเงินดูดซึมแสง ได้ทั้งหมด ยกเว้นสีน้ำเงินด้วยกัน วัตถุสีดำดูดซึมแสงได้ทั้งหมด แต่วัตถุสีขาวสะท้อนแสง ทั้งหมด ความสำคัญของสีสำหรับศิลปินอยู่ที่ว่าเมื่อแสงเปลี่ยนไป สีก็จะเปลี่ยนไป สีก็จะ เปลี่ยนตามไปด้วย ดังนั้นจึงไม่มีสีแท้สำหรับวัตถุโดยเฉพาะ | |||||||||||||||||||||||
การปรากฏของสีที่ผิวของวัตถุ ในธรรมชาติ สีแสงจะมีหลายสีประกอบกันอยู่เป็นแสงสีใส เมื่อแสงกระทบวัตถุที่มีสีวัตถุนั้น จะดูดสีทั้งหมดของแสงไว้ แล้วสะท้อนเฉพาะสีที่เหมือนกับวัตถุนั้นออกมา เราจึงเห็นสีของ วัตถุนั้น ตัวอย่างเช่น แสงส่องมาถูกรถสีเหลือง สีเหลืองของรถจะรับกับสีเหลืองในแสง แล้ว สะท้อนสีเหลืองนั้นเข้าสู่ตาของเรา วัตถุสีขาวจะสะท้อนสีออกมาทุกสี แต่วัตถุสีดำ ไม่สะท้อน สีเหลืองนั้นเข้าสู่ตาของเรา วัตถุสีขาวจะสะท้อนสีออกมาทุกสี แต่วัตถุสีดำไม่สะท้อนสีใดเลย | |||||||||||||||||||||||
ชนิดของสี สีมี 2 ชนิด คือ | |||||||||||||||||||||||
1. สีที่เป็นแสง (Spectrum) แม่สีจากแสงสว่าง (Spectum Primaries ประกอบด้วย 3 สี คือ 1. สีแดงส้ม (Vermillion) 2. สีเขียว (Emerald) 3. สีม่วง (Violet) เมื่อนำแม่สีแสงสว่าง 3 สีมาผสมเข้าด้วยกัน (ใช้สีแสง) จะปรากฏเป็นสีกลาง คือ ไม่แสดง สีใดที่เด่นออกมา(สีใส) | |||||||||||||||||||||||
สีแสงขั้นที่หนึ่งจากวงจรสีแสง 1. แดงส้ม (Vermillion) 2. เขียว (Emerald) 3. ม่วง (Violet) | |||||||||||||||||||||||
สีแสงขั้นที่สอง 1. แดง(Vermillion) + เขียว(Emerald) = เหลือง (Yellow) 2. เขียว(Emerald) + ม่วง (Violet) = น้ำเงิน (Blue) 3. ม่วง(Violet) + แดงส้ม(Vermillion) = แดง (Red) และ ถ้านำแม่สีแสงที่ 3 มารวมกัน(ใช้สีแสง) แดง(Vermillion) + เขียว(Emerald) + ม่วง (Violet) = สีใส (Light) | |||||||||||||||||||||||
2.สีที่เป็นวัตถุ สีที่เป็นวัตถุ (Pigment) คือสีที่มีอยู่ในธรรมชาติทั่วไป เช่น พืช สัตว์ แร่ธาตุ ฯลฯ สีที่เป็นวัตถุ ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ | |||||||||||||||||||||||
2.1 เนื้อสี (Pigment) ได้มาจากวัตถุที่มีรงค์สีจากธรรมชาติ(Raw Material) และจากการสังเคราะห์ด้วย กรรมวิธีทางเคมี(Chemical Process) ซึ่งปัจจุบันเราใช้สีที่ผลิตจากโรงงานที่ผลิต และผสมด้วยกรรมวิธีทางเคมีมาเรียบร้อยแล้ว | |||||||||||||||||||||||
2.2 ตัวผสมสี (Binder) คือ ของเหลวที่มีคุณสมบัติทางเคมีในการช่วยยึดโมเลกุลของเนื้อสีเข้าด้วยกัน และ ช่วยในการผสมสีให้มีความเข้มข้นตามที่เราต้องการ ได้แก่ น้ำใช้ผสมสีน้ำ สีพลาสติก สีอะคลิลิค สีโปรเตอร์ และสีฝุ่น เป็นต้น น้ำมันสน ทินเนอร์ น้ำมันปอปปี้ แอลกอฮอล์ น้ำมันลินซีด(Linseed) ใช้ผสมกับสีที่มีส่วนผสมของน้ำมันซึ่งต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม กับประเภทของสีตามที่ผู้ผลิตกำหนดไว้ | |||||||||||||||||||||||
พอสรุปได้ว่า สีทุกประเภทที่ใช้กับวงการศิลปะ จะต้องมีส่วนประกอบด้วย 2 ส่วนคือ เนื้อสี(Pigment) + ตัวผสมสี (Bender) | |||||||||||||||||||||||
การแบ่งประเภทของสีที่เป็นวัตถุ | |||||||||||||||||||||||
1. แบ่งตามลักษณะของตัวผสมสี แบ่งออกเป็น 1.1 สีที่ผสมน้ำ (Water Based Color) คือสีที่มีส่วนผสมกับน้ำเป็นหลัก ได้แก่ สีน้ำ สีพลาสติก สีโปรเตอร์ สีฝุ่น สีอะคลิลิค เป็นต้น 1.2 สีที่มีส่วนผสมของน้ำมันเป็นหลัก (Oil Based Color) ได้แก่ สีน้ำมัน สีพิมพ์ เป็นต้น | |||||||||||||||||||||||
2. แบ่งตามลักษณะของเทคนิคที่ใช้ 2.1 สีที่ใช้ระบาย (Painted Color) คือสีที่ใช้เทคนิคการทาระบาย ได้แก่ สีน้ำ สีน้ำมัน สีอะคลิลิค สีพลาสติก สีผุ่น สีดินสอ สีเมจิก 2.2 สีที่ใช้พิมพ์ (Printing Color) คือ สีที่ใช้ในการพิมพ์ เช่น สีพิมพ์แกะไม้ (Woodcut Ink) สีพิมพ์สกีน สีพิมพ์โลหะ สีพิมพ์สติกเกอร์ สีพิมพ์ร่องลึก สีพิมพ์ระบบออฟเซท 2.3 สีที่ใช้พ่น (Spray Color) คือสีที่ใช้เครื่องพ่นสี อาจเป็นกระป๋อง หรือปากกา(Airbrush) ได้แก่ สีพ่นสีหมึก สีอะคลิลิค สีน้ำมันสำหรับพ่น เป็นต้น 2.4 สีที่ใช้ย้อม (Dye Color) คือสีที่ใช้ย้อมสิ่งของต่างๆ เช่นสีย้อมผ้า(Fabric Dye Color) สีย้อมหนัง (Leather Dye) เป็นต้น | |||||||||||||||||||||||
3. แบ่งตามลักษณะที่แสงผ่าน 3.1 สีโปร่งแสง (Transparent Color) คือ เนื้อสีที่มีความบางใน เนื้อสีละเอียดสามารถ ระบายทับกันได้ โดยยังเห็นสีชั้นล่างที่ลงไปก่อน ได้แก่ สีน้ำ สีอะคลิลิค สีย้อม สีหมึก 3.2 สีทึบแสง (Opaque Color) คือ สีที่มีเนื้อสีเข้มข้น ระบายแล้วมีความหนา แสงผ่าน ไม่ได้ สามารถระบายทับกันได้ แต่ไม่สามารถมองเห็นสีชั้นล่างที่ลงไปก่อน ได้แก่ สีโปรเตอร์ สีน้ำมัน สีเทียบ สีชอล์ค เป็นต้น | |||||||||||||||||||||||
ทฤษฏีสี (Theory of Color)
| |||||||||||||||||||||||
สีมีลักษณะ 3 มิติ ประกอบด้วย | |||||||||||||||||||||||
1. ความเป็นสีแท้ (Hue) หมายถึง สีที่อยู่ในวงจรสีทุกสี ที่ไม่มีสีขาวหรือสีดำเข้าไปผสม ความเป็นสีแท้(Hue) แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1.1 แม่สี (Primary Colors) หมายถึง สีที่เป็นพื้นฐานของสีอื่นๆ ซึ่งไม่สามารถสร้างขึ้นจากการผสมของสีใดๆให้เกิดเป็นแม่สี มีคุณลักษณะ ของความเป็นสีแท้สูงที่สุด มี 3 สี คือ 1. สีแดง (Red : Crimson Lake) 2. สีเหลือง (Yellow : Gamboge) 3. สีน้ำเงิน (Blue : Prussion Blue) | |||||||||||||||||||||||
1.2 สีขั้นที่สอง (Secondary Colors) หมายถึง สีที่เกิดจากการผสมกันทีละคู่ของแม่สีมี 3 สี คือ 1. สีส้ม(Orange) = สีแดง (Red) + สีเหลือง (Yellow) 2. สีเขียว(Green) = สีเหลือง (Yellow) + สีน้ำเงิน(Blue) 3. สีม่วง(Violet) = สีแดง(Red) + สีน้ำเงิน(Blue) | |||||||||||||||||||||||
1.3 สีขั้นที่สาม (Tertiary Colors) หมายถึง สีที่เกิดจากการผสมกันทีละคู่ของแม่สีกับสีขั้นที่ 2 มี 6 สี คือ 1. สีเขียวเหลือง = สีเหลือง + สีเขียว 2. สีเขียวน้ำเงิน = สีน้ำเงิน + สีเขียว 3. สีม่วงน้ำเงิน = สีน้ำเงิน + สีม่วง 4. สีม่วงแดง = สีแดง + สีม่วง 5. สีส้มแดง = สีแดง + สีสัม 6. สีส้มเหลือง = สีเหลือง + สีส้ม | |||||||||||||||||||||||
|
บล็อกตัวแ่รก
วันอังคารที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2556
รถ AGV
รถ AGV
รถ AGV คืออะไร
รถ AGV (Auto Guiding Vehicle) หรือเรียก
กันว่า รถขนส่ง
อัตโนมัติ มีระบบควบคุมเส้นทาง และ
นำทางการขับเคลื่อนด้วยการเหนี่ยวนนำของสนาม
แม่เหล็กที่ฝังอยู่ในพื้นผิวทางเดินรถ AGV หรือแบบ
ควบคุมโดยการตรวจจับด้วยแสงเลเซอร์
เพื่อให้รถ
AGV สามารถเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่กำหนดได้
ด้วยการประมวลผลควบคุมการทำงาน
โดยไมโครคอนโทรลเลอร์
ส่วนประกอบของ AGV
1. ส่วนของตัวรถ
2.
ส่วนของตัวตรวจเช็คเส้นทาง (Guided sensor)
3.
ส่วนของตัวตรวจเช็คความปลอดภัย (Safety sensor)
4. ส่วนของต้นกำลัง (Motor)
5.
ส่วนของไฟฟ้าภายในตัวรถ (Power supply)
6.
ส่วนของอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power electronics)
7. ส่วนของตัวควบคุม (Controller)
ส่วนของตัวตรวจเช็คเส้นทาง
(Guided sensor)
ใช้เป็น Magnetic sensor
หลังการท างานของ magnetic sensor
เซ็นเซอร์จะทำการตรวจวัดความสมดุลสองข้าง
ซ้าย/ขวา ของแถบแม่เหล็กแล้วดำเนินการ
ตามขั้นตอนที่เราได้เขียนโปรแกรมควบคุมไว
ส่วนของตัวตรวจเช็คความปลอดภัย
(Safety sensor)
ใช้เป็น Ultrasonic sensor
ใช้เพื่อให้เกิดความปลอดภัย
ป้องกันการชนกันระหว่าง รถ AGV กับ Station ต่างๆ
หรือระหว่าง รถ AGV กับรถ AGV โดยจะติดตัวเซ็นเซอร์ไว้ด้านหน้าและด้านข้างของ
ตัวรถ
ส่วนของตัวควบคุม
(Controller)
ใช้เป็น Microcontroller ตระกูล AVR
เนื่องจากสามารถรับได้ทั้ง Analog และ digital input/output และยังสามารถ
หาได้ง่ายสะดวกต่อการใช้งาน
และใช้ภาษา C ในการเขียนควบคุมการท
างาน ท าให้
สามารถเข้าใจการท
างานของโปรแกรมและสามารถออกแบบการท างานของโปรแกรม
ได้ง่ายอีกด้วย
มูลเหตุจูงใจ
1.
เพื่อลดการเข้า-ออกของพนักงานขับรถขนส่ง
2.
เพื่อลดความล่าช้าจากการขนส่ง Part เนื่องจากการจราจรที่ติดขัด
3.
เพื่อลดความความเมื่อยล้าจากการทำงานของพนักงานขนส่ง
4.
เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษารถขนส่งที่มีจำนวนมาก
รถ AGV (Auto Guiding Vehicle) หรือเรียก
กันว่า รถขนส่ง
อัตโนมัติ มีระบบควบคุมเส้นทาง และ
นำทางการขับเคลื่อนด้วยการเหนี่ยวนนำของสนาม
แม่เหล็กที่ฝังอยู่ในพื้นผิวทางเดินรถ AGV หรือแบบ
ควบคุมโดยการตรวจจับด้วยแสงเลเซอร์
เพื่อให้รถ
AGV สามารถเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่กำหนดได้
ด้วยการประมวลผลควบคุมการทำงาน
โดยไมโครคอนโทรลเลอร์
ส่วนประกอบของ AGV
1. ส่วนของตัวรถ
2.
ส่วนของตัวตรวจเช็คเส้นทาง (Guided sensor)
3.
ส่วนของตัวตรวจเช็คความปลอดภัย (Safety sensor)
4. ส่วนของต้นกำลัง (Motor)
5.
ส่วนของไฟฟ้าภายในตัวรถ (Power supply)
6.
ส่วนของอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power electronics)
7. ส่วนของตัวควบคุม (Controller)
ส่วนของตัวตรวจเช็คเส้นทาง (Guided sensor)
ใช้เป็น Magnetic sensor
หลังการท างานของ magnetic sensor
เซ็นเซอร์จะทำการตรวจวัดความสมดุลสองข้าง
ซ้าย/ขวา ของแถบแม่เหล็กแล้วดำเนินการ
ตามขั้นตอนที่เราได้เขียนโปรแกรมควบคุมไว
ส่วนของตัวตรวจเช็คความปลอดภัย
(Safety sensor)
ใช้เป็น Ultrasonic sensor
ใช้เพื่อให้เกิดความปลอดภัย
ป้องกันการชนกันระหว่าง รถ AGV กับ Station ต่างๆ
หรือระหว่าง รถ AGV กับรถ AGV โดยจะติดตัวเซ็นเซอร์ไว้ด้านหน้าและด้านข้างของ
ตัวรถ
ส่วนของตัวควบคุม
(Controller)
ใช้เป็น Microcontroller ตระกูล AVR
เนื่องจากสามารถรับได้ทั้ง Analog และ digital input/output และยังสามารถ
หาได้ง่ายสะดวกต่อการใช้งาน
และใช้ภาษา C ในการเขียนควบคุมการท
างาน ท าให้
สามารถเข้าใจการท
างานของโปรแกรมและสามารถออกแบบการท างานของโปรแกรม
ได้ง่ายอีกด้วย
มูลเหตุจูงใจ
1.
เพื่อลดการเข้า-ออกของพนักงานขับรถขนส่ง
2.
เพื่อลดความล่าช้าจากการขนส่ง Part เนื่องจากการจราจรที่ติดขัด
3.
เพื่อลดความความเมื่อยล้าจากการทำงานของพนักงานขนส่ง
4.
เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษารถขนส่งที่มีจำนวนมาก
วันเสาร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556
เทคโนโลยีการสื่อสาร
เทคโนโลยีการสื่อสาร
.
1.1 ความหมาย
การสื่อสาร หรือ การสื่อความหมาย (Communication) เป็นคำที่รากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า
"communius" หมายถึง "พร้อมกัน" หรือ
"ร่วมกัน" (common) หมายความว่า
เมื่อมีการสื่อสารระหว่างกันเกิดขึ้น คนเราพยายามที่จะสร้าง
"ความพร้อมกันหรือความร่วมกัน" ทางด้านความคิดเรื่องราวเหตุการณ์
ทัศนคติ ฯลฯ กับบุคคลที่เรากำลังสื่อสารด้วยนั้น ดังนั้น การสื่อสารจึงหมายถึง
การถ่ายทอดเรื่องราว การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแสดงออกของความคิดและความรู้สึก
ตลอดรวมไปถึง "ระบบ" (เช่น ระบบโทรศัพท์) เพื่อการติดต่อสื่อสารข้อมูลซึ่งกันและกัน
(Webster's Dictionary 1978 : 98) นอกจากนี้
การสื่อสารยังเป็นการที่บุคคลในสังคมมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันโดยผ่านทางข้อมูลข่าวสาร
สัญลักษณ์ตลอดจนเครื่องหมายต่าง ๆ ด้วย (Fiske 1985:2
เทคโนโลยี มีความหมายค่อนข้างกว้าง
โดยทั่วไปหมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ
เข่น อุปกรณ์, เครื่องมือ, เครื่องจักร, วัสดุ หรือ
แม้กระทั่งที่ไม่ได้เป็นสิ่งของที่จับต้องได้ เช่น กระบวนการต่าง ๆ เทคโนโลยี
เป็นการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ให้เกิดประโยชน์ ในทางเศรษฐศาสตร์ มองเทคโนโลยีว่า
เป็นความรู้ของมนุษย์ ณ ปัจจุบัน ในการนำเอาทรัพยากรมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ
(รวมถึงความรู้ว่าเราสามารถผลิตอะไรได้บ้าง) ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
จะเกิดขึ้นเมื่อความรู้ทางเทคนิคของเราเพิ่มขึ้น
คำว่า “เทคโนโลยี” มีความสัมพันธ์กับการดำรงชีวิตของมนุษย์มาเป็นเวลานาน
เป็นสิ่งที่มนุษย์ใช้แก้ปัญหาพื้นฐาน ในการดำรงชีวิต เช่น การเพาะปลูก
ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค ในระยะแรกเทคโนโลยีที่นำมาใช้ เป็น
เทคโนโลยีพื้นฐานไม่สลับซับซ้อนเหมือนดังปัจจุบัน การเพิ่มของประชากร
และข้อจำกัดด้านทรัพยากรธรรมชาติ
รวมทั้งมีการพัฒนาความสัมพันธ์กับต่างประเทศเป็นปัจจัยด้านเหตุสำคัญในการนำและพัฒนาเทคโนโลยีมาใช้มากขึ้น
เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กันมาก
เทคโนโลยีเกิดจากพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์รองรับประเทศตะวันตก
ได้ศึกษาค้นคว้าทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์มาอย่างต่อเนื่อง
ทำให้การพัฒนาเทคโนโลยีเจริญก้าวหน้าความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นความรู้ที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
โดยหลักสำคัญคือ ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์คือการพยายามที่อธิบายว่าทำไมจึงเกิดอย่างนั้น (Why) เช่น นักฟิสิกส์ อธิบายว่า เมื่อขดลวดตัดสนามแม่เหล็กจะได้กระแสไฟฟ้า
และน้ำเกิดจากไฮโดรเจนผสมกับออกซิเจนเป็นต้น
เทคโนโลยีการสื่อสาร จึงหมายถึง
สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างกัน โดยการถ่ายทอด
รับรู้ข่าวสารร่วมกัน ผ่านเครื่องมือเหล่านั้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็น เครื่องมือ
อุปกรณ์ เครื่องจักร วัสดุ เพียงอย่างเดียว อาจหมายรวมถึงกระบวนการต่าง
ที่เกิดจากการประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์ด้วย
การสื่อสารมีการพัฒนามาเรื่อยๆ
จากภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่เทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบันซึ่งมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
และแนวโน้มในการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารจะขยายออกไปเรื่อยๆ
เป็นเครือข่ายการสื่อสารไร้สาย
เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) คือเทคโนโลยีดิจิตัล (Digital Technology)ประเภทหนึ่งซึ่งได้พัฒนาตัวเพื่อเอื้อต่อการจัดการ “การสื่อสาร(Communication)”
หรือ “การขนส่งข่าวสาร(Transfer of
Information)” เทคโนโลยีการสื่อสาร
ไม่ว่าจะเป็นทางด้านภาพ (Image) เสียง (Voice) หรือ ทางด้านข้อมูล (Data)
ได้รับการพัฒนาจนมนุษย์
สามารถเชื่อมโยงติดต่อกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
และเป็นเครือข่ายที่ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก เป็นยุคของสารสนเทศ (Information Age) และเป็นสังคมสาร- สนเทศ (Information Society) ที่นับวันจะมีอัตราการเติบโตขึ้นทุกที่ทั้งในด้านขนาดและปริมาณข่าวสารที่ไหลเวียนอยู่ในสังคม
(ธวัชชัย พานิชยกรณ์, 2539)
หมายถึง เทคโนโลยีในการสื่อสารยุคใหม่ 4 กลุ่ม ได้แก่
1. เทคโนโลยีการแพร่ภาพและเสียง
(Broadcast and Motion Picture Technology)
2. เทคโนโลยีการพิมพ์
(Print and Publishing Technology)
3. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
(Computer Technology)
4. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
(Telecommunication Technology)
บทบาทของเทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ ดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร โครงข่าย โทรศัพท์ อุปกรณ์ ภาพและเสียง มีผลกระทบต่อ
"สื่อแบบดั้งเดิม" (Traditional
Media) ซึ่งได้แก่หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง
วิทยุโทรทัศน์ ทำให้
เกิดสิ่งที่เรียกว่า "
การปฏิวัติแห่งระบบตัวเลข" (Digital
Revolution) ทำให้ข้อมูลข่าวสารไม่ว่าจะอยู่ในรูปลักษณ์ใด
เช่น ข้อความเสียงภาพเคลื่อนไหวรูปภาพ หรืองาน กราฟิก ได้รับการปรับเปลี่ยนให้เป็นภาษาอีกชนิดหนึ่งเป็นรูปแบบเดียวกันทั้งหมด
คือสามารถอ่านและส่งผ่านได้อย่างรวดเร็วด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
แล้วยังสามารถนำเสนอในลักษณะใดก็ได้ตามความต้องการใช้งาน ของผู้ใช้งาน
ความเปลี่ยนแปลงนี้ถูกเรียกขานว่า "การทำให้เป็นระบบตัวเลข" หรือ"ดิจิไทเซชั่น"
(Digitization) ด้วยระบบที่มีการทำให้เป็นระบบตัวเลข
เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้เกิด "สื่อใหม่" (New Media) ขึ้น เป็นสื่อที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกับระบบตัวเลข เครื่องคอมพิวเตอร์
และระบบการสะท้อนกลับ หรือ "อินเตอร์ แอคทีฟ"(Interactive)
1.2
ประเภทของเทคโนโลยีการสื่อสาร
รูปแบบของการสื่อสาร แบ่งได้เป็น 2
รูปแบบ คือ
1.
การสื่อสารทางเดียว (One - Way Communication) เป็นการส่งข่าวสารหรือการสื่อความหมายไปยังผู้รับแต่เพียงฝ่ายเดียว
โดยที่ผู้รับไม่สามารถมีการตอบสนองในทันที (immediate response) ให้ผู้ส่งทราบได้ แต่อาจจะมีปฏิกิริยาสนองกลับ (feedback) ไปยังผู้ส่งภายหลังได้
การสื่อสารในรูปแบบนี้จึงเป็นการที่ผู้รับไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันได้ทันที
จึงมักเป็นการสื่อสารโดยอาศัยสื่อมวลชน เช่น การฟังวิทยุ หรือการชมโทรทัศน์ เหล่านี้เป็นต้น
2. การสื่อสารสองทาง
(Two-Way Communication) เป็นการสื่อสารหรือการสื่อความหมายที่ผู้รับมีโอกาสตอบสนองมายังผู้ส่งได้ในทันที
โดยที่ผู้ส่งและผู้รับอาจจะอยู่ต่อหน้ากันหรืออาจอยู่คนละสถานที่ก็ได้
แต่ทั้งสองฝ่ายจะสามารถมีการเจรจาหรือการโต้ตอบกันไปมา
โดยที่ต่างฝ่ายต่างผลัดกันทำหน้าที่เป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับในเวลาเดียวกัน เช่น
การพูดโทรศัพท์ การประชุม เป็นต้น
1.3
ความสำคัญของเทคโนโลยีการสื่อสาร
vโดยจะเห็นว่าปัจจุบันการสื่อสารเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมากผนวกกับยุคนี้เป็นยุคของเทคโนโลยีจึงมีการนำเทคโนโลยีมาใช้กับการสื่อสารเพื่อให้เกิดความรวดเร็ว
ความแม่นยำ และความทั่วถึงได้เป็นอย่างดี
เราจะเห็นจากการายงานข่าวหรือสถานการณ์ปัจจุบันที่สามารถรายงานข่าวได้รวดเร็วเกาะติดและทันเหตุการณืมากกว่าอดีต
เพราะสืบเนื่องด้วยเทคโนโลยีนั่นเอง
นอกจากนี้การถ่ายทอดข่าวจากทั่วโลกเรายังสามารถติดตามชมข่าวหรือการถ่ายทอดสดในเรื่องต่างๆทั่วทุกมุมดลกก้เพราะดาวเทียมที่เป้นเทคโนโลยีการสื่อสารที่เป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้โลกเป็นโลกไร้พรมแดนอีกด้วย
1.4
พัฒนาการเทคโลยีการสื่อสาร
เนื่องจากเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ก้าวหน้าไปมาก
ทำให้เกิดระบบการสื่อสารใหม่ออกมาตลอดเวลา
ผู้ทำงานในสำนักงานจึงมีโอกาสเลือกใช้วิธีการติดต่อสื่อสารได้หลายรูปแบบ
ปัจจัยสำคัญซึ่งใช้ในการพิจารณาเลือกระบบสื่อสารให้สามารถนำมาใช้งานได้ดีมีดังนี้
1. กลุ่มผู้ใช้ระบบสื่อสารควรมีจำนวนมากพอ
ระบบสื่อสารนั้นจะไม่มีประโยชน์หรือใช้งานน้อยถ้ามีกลุ่มผู้ใช้งานน้อย
เพราะจะทำให้การกระจายข้อมูลทำได้ไม่กว้างขวาง
2. การเข้ากันได้ระหว่างระบบสื่อสารกับงานของสำนักงาน
ระบบสื่อสารนั้นควรมีรูปแบบเหมือนหรือเข้ากันได้กับงานที่ดำเนินการอยู่
หากต้องมีการเปลี่ยนรูปแบบของข้อมูลเพื่อเข้ากับระบบสื่อสาร
หรือข้อมูลที่ได้รับจากระบบสื่อสารไม่สามารถใช้กับงานเดิมได้
จะทำให้เกิดความไม่สะดวก ปราศจากความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ในการติดต่อสื่อสาร
3. ความสมเหตุสมผลทางราคา
ระบบสื่อสารต่างๆ จะต้องมีค่าใช้จ่ายประกอบด้วยเสมอ
ซึ่งค่าใช้จ่ายนี้จะต้องอยู่ในวิสัยที่สามารถลงทุนได้และต้องคุ้มค่ากับราคา
ปัจจัยทั้งสามเป็นข้อพิจารณาในการเลือกใช้ระบบสื่อสาร
เพื่อทำงานในสำนักงานมีประสิทธิภาพสูงสุด การนำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยระบบสื่อสารก็จะทำให้ระบบงานลดความซ้ำซ้อนลงได้
1.5
นิยามศัพท์เกี่ยวกับเทคโนโลยีการสื่อสาร
CT หมายถึง อุปกรณ์โทรคมนาคม (Tele-communication
Equipment) ใช้เพื่อประโยชน์ในการค้นหาและเข้าถึงสารสนเทศ ได้แก่
โทรศัพท์ โทรสาร โมเด็ม และคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
เทคโนโลยีการสื่อสาร
วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
รานชื่อสมาชิกไฟฟ้าอุต56
รายชื่อสมาชิก
อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค
อ.ปาล์ม
1 นายกฤษกร
สุวรรณวงศ์ เอฟ
2 นายจตุพงค์
ณ สงขลา พงค์
3 นายจิรกิตต์
สุขเกษม บอย
4 นายจิรพงศ์
แจ่มศรี เอฟ
5 นายชัยยงค์
ชูแก้ว ปั๊ม
6 นายเชิดชาย
เรืองฤทธิ์ ชาย
7 นายตวิษ
เพ็งศรี บ่าว
8 นายธีรวุฒิ
ศรีสวัสดิ์ วุฒิ
9 นายนพรัตน์
แก้วกำเนิด เอ็กซ์
10 นายนันทปรีชา
ปิยะ บุญสนอง โปร
11 นายนิรันดร์
เสมอพบ แบ
12 นายนิโรจน์
หวันปรัตน์ ซอล
13 นายปภังกร
เอียดจุ้ย กิ๊ฟ
14 นายปรินทร์
ผุดผ่อง บอล
15 นายพิชชากร
มีบัว กร
16 นายพีระพงศ์
จันทร์ชู พงศ์
17 นายภาคภูมิ
จุลนวล เจ
18 นางสาวเยาวเรศ
ร่วมพรภาณุ โรส
19 นายรชต
อารี รอน
20 นายรุสดี
วาลี ซี
21 นายวงศธร
อินทมะโน หลวงหมีด
22 นายวสุ
ราชสีห์ หนัง
23 นายวัชรินทร์
เขียนวารี ปอนด์
24 นายวิฆเนศ
ณ รังษี หมู
25 นายวิโรจน์
เหมมาน ลิฟ
26 นายศุภวัฒน์
ไชยของพรม รูส
27 นายสมประสงค์
วงศ์สุวรรณ ทู
28 นายสมศักดิ์
มากเอียด กล้วย
29 นายสราวุฒิ
เกบหมีน ซอล
30 นายสานิต
มิตสุวรรณ ปอ
31 นายสุรเดช
สม่าแห ยา
32 นายสุรศักดิ์
สะเกษ โจ้
33 นายอนิรุตต์
ภาระบุญ โต๋
34 นายอนุพงษ์
เทพพรหม ทิว
35 นายอภิเดช
ทองอินทร์ โหนด
36 นายอภิวัฒน์
เจิมขวัญ กุ้ง
37 นายอภิสิทธิ์
ยะโกบ ดุล
38 นายอับดุลรอมัน
บูกา มัน
39 นายอับดุลเลาะ
กาโฮง เลาะ
40 นายอาคม
เรืองกูล แบงค์
41 นายอาจณรงค์
ราชูภิมนต์ มิค
42 นายอานนท์
นาควิเชียร นนท์
43 นายอาลียะ
สะอุ ฟาน
44 นายอาหามะซุบฮี
จะแน มะ
45 นายอิสมาแอ
มะยี แอ
46 นายกิติศักดิ์
ระบิงเกา
47 นายเกรียงศักดิ์
บุญประเสริฐ เบียร์
48 นายพุฒิพงศ์
หนูนอง เพชร
49 นายจตุรงค์
หิรัญกูล นิว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)